Greek Civilization/อารยธรรมกรีก2

Government in Athens
Aristocrats and Tyrants Rule
Greece is the birthplace of democracy, a type of government in which people rule themselves. The word democracy comes from Greek words meaning rule of the people.” But Greek city-states didnt start as democracies, and not all became democratic.


การปกครองในเอเธนส์
การปกครองแบบคณาธิปไตยกับแบบใช้อำนาจเบ็ดเสร็จ (เผด็จการ)
            ประเทศกรีซเป็นสถานที่กำเนิดประชาธิปไตย คือ การปกครองที่ประชาชนปกครองตนเอง คำว่า Democracy มาจากคำภาษากรีก หมายความว่า “การปกครองของประชาชน” (ส่วนคำว่า ประชาธิปไตย ในภาษาไทย ท่านบัญญัติให้แปลความหมายของ Democracy ประชาธิปไตย มาจากภาษาสันสกฤต คือ ปฺรชา + อธิปไตย บาลี เป็น ปชา + อธิปเตยฺย   ปฺรชา กับ ปชา แปลว่าตามตัวว่า หมู่สัตว์ หมายถึงผู้คนหรือสัตว์มีชีวิตอื่น ๆ เท่ากับภาษาอังกฤษว่า People  อธิปไตย กับ อธิปเตยฺย แปลว่าตามตัวว่า ความเป็นใหญ่ยิ่ง  รวมกันแล้ว (เรียกว่า สมาสกับสนธิ) แปลว่า ความเป็นใหญ่ยิ่งของหมู่สัตว์หรือความมีหมู่สัตว์เป็นใหญ่ยิ่ง แปลความหมายง่าย ๆ ตามภาษาไทยก็คือ ประชาชนเป็นใหญ่นั่นแหละ = ผู้จัดทำ) แต่นครรัฐของกรีกไม่ได้เริ่มต้นเป็นประชาธิปไตย และไม่ได้เป็นประชาธิปไตยทั้งหมด

คณาธิปไตย




Oligarchy
Early Athens was governed by a small group of powerful aristocrats. This type of government is called an oligarchy. Oligarchy meansrule by a few.”



คณาธิปไตย
            ชาวเอเธนส์ยุคแรกถูกปกครองโดยกลุ่มขุนนางผู้มีอิทธิพลกลุ่มเล็ก ๆ  การปกครองชนิดนี้ เรียกว่า คณาธิปไตย คณาธิปไตย หมายความว่า “การปกครองด้วยคนสองสามคน”


การปกครองแบบเผด็จการ





Tyranny
Peisistratus overthrew the oligarchy in 546 BC, and Athens became a tyranny. Tyranny means rule by a tyrant”—a strong leader who has power.





การปกครองแบบเผด็จการ
            พิซิสตราตัสได้โค่นล้มระบบคณาธิปไตย เมื่อ 546 ปีก่อนคริสตกาล และกรุงเอเธนส์ก็กลายเป็นระบบการปกครองแบบเผด็จการ Tyranny หมายถึง “การปกครองโดยทรราชย์”  (ทรราชย์) คือ ผู้นำที่เข้มแข็งที่มีอำนาจ

ประชาธิปไตย






Democracy
Around 500 BC Athens became a democracy. Democracy meansrule by the people.” For the first time in history, a government was based on the votes of its free citizens.






ประชาธิปไตย
            ประมาณ 500 ปีก่อนคริสตกาล กรุงเอเธนส์ก็เป็นประชาธิปไตย ประชาธิปไตย หมายความว่า “การปกครองโดยประชาชน”  เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่การปกครองอาศัยการออกเสียงของประชากรโดยเสรี
Rule by a Few People
Even Athens, the city where democracy was born, began with a different kind of government. In early Athens, kings ruled the city-state. Later, a group of rich landowners, or aristocrats, took power. A government in which only a few people have power is called an oligarchy.

The aristocrats dominated Athenian society. As the richest men in town, they ran the citys economy. They also served as its generals and judges. Common people had little say in the government.

In the 600s BC a group of rebels tried to overthrow the aristocrats. They failed. Possibly as a result of their attempt, however, a man named Draco created a new set of laws for Athens. These laws were very harsh. For example, Dracos laws made minor crimes such as loitering punishable by death.

           

The people of Athens thought Dracos laws were too strict. In the 590s BC a man named Solon created a set of laws that were much less harsh and gave more rights to nonaristocrats. Under Solons laws, all free men living in Athens became citizens, people who had the right to participate in government. But his efforts were not enough for the Athenians. They were ready to end the rule of the aristocracy.


The Rise of the Tyrants
Because the Athenians werent pleased with the rule of the aristocrats, they wanted a new government. In 546 BC a noble named Peisistratus overthrew the oligarchy. He became the ruler of Athens. Peisistratus was called a tyrant, which meant a leader who held power through the use of force.


Today the word tyrant means a ruler who is harsh, but the word had a different meaning in ancient Greece. Athenian tyrants were usually good leaders. Tyrants were able to stay in power because they had strong armies and because the people supported them.

            Peisistratus brought peace and prosperity to the city. He began new policies meant to unify the city. He created new festivals and built temples and monuments. During his rule, many improvements were made in Athens.

            After Peisistratus died, his son took over as tyrant. Many aristocrats, however, were unhappy because their power was gone. Some of these aristocrats convinced a rival city-state to attack Athens. As a result of this invasion, the tyrants lost power and, for a short time, aristocrats returned to power in Athens.

การปกครองโดยคนสองสามคน (ชนกลุ่มน้อย)
            แม้กรุงเอเธนส์ซึ่งเป็นสถานที่กำเนิดประชาชาธิปไตย จะเริ่มต้นด้วยการปกครองชนิดที่แตกต่างกัน กษัตริย์ปกครองนครรัฐในกรุงเอเธนส์ยุคแรก ต่อมา เป็นกลุ่มเจ้าของที่ดินผู้มั่งคั่ง หรือ ขุนนาง ครองอำนาจ การปกครองซึ่งมีคนสองสามคนครองอำนาจ เรียกว่า คณาธิปไตย

          ระบบคณาธิปไตยได้ครอบงำสังคมเอเธนส์ ในขณะที่คนร่ำรวยที่สุดในเมือง ก็บริหารเศรษฐกิจของเมือง พร้อมทั้งเป็นผู้มีอำนาจและผู้ตัดสินใจด้านเศรษฐกิจด้วย ประชาชนทั่วไปมีเรื่องพูดเล็กน้อยในการปกครอง

          เมื่อ 600 ปีก่อนคริสตกาล กลุ่มกบฏกลุ่มหนึ่งพยายามล้มล้างระบบคณาธิปไตย แต่ล้มเหลว แต่อย่างไรก็ตาม มีชายคนหนึ่งนามว่า ดราโก (Draco) ได้สร้างกฎหมายชุดใหม่ให้กับกรุงเอเธนส์ อาจเป็นไปได้ว่ามาจากผลของความพยายามของคนเหล่านั้น กฎหมายเหล่านี้มีความรุนแรงมาก ยกตัวอย่างเช่น กฎหมายของเดรโคได้ก่ออาชญากรรมเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น การเที่ยวเตร็ดเตร่ซึ่งสามารถลงโทษด้วยความตายได้

           ประชาชนชาวกรุงเอเธนส์คิดว่ากฎหมายของเดรโคเข้มงวดมาก เมื่อทศวรรษที่ 590 ก่อนคริสตกาล มีชายคนหนึ่งนามว่า โซลอน (Solon) ได้สร้างกฎหมายขึ้นมาชุดหนึ่งซึ่งมีความรุนแรงน้อยกว่ามากและให้สิทธิแก่ระบบที่ไม่ใช่คณาธิปไตยมากกว่า ภายใต้กฎหมายของโซลอน เหล่าอิสรชนที่อาศัยอยู่ในกรุงเอเธนส์ก็กลายเป็นประชากร คือ ประชาชนผู้มีสิทธิในการมีส่วนร่วมการปกครอง แต่ความพยายามของโซลอนไม่เพียงกับชาวเอเธนส์ พวกเขาพร้อมที่จะยุติการปกครองระบบคณาธิปไตย

การเกิดขึ้นของเผด็จการ
            เนื่องจากชาวเอเธนส์ไม่พอใจกับการปกครองระบบคณาธิปไตย จึงต้องการการปกครองแบบใหม่ เมื่อ 546 ปีก่อนคริสตกาล ขุนนางคนหนึ่ง นามว่า พิซิสตราตัส (Peisistratus) ได้โค่นล้มระบบคณาธิปไตย แล้วกลายเป็นผู้ปกครองกรุงเอเธนส์ พิซิสตราตัสได้ชื่อว่า เป็นผู้ปกครองแบบเผด็จการ ซึ่งหมายความว่า ผู้นำที่ยึดอำนาจด้วยการใช้กำลัง

          ปัจจุบัน คำว่า tyrant  หมายความว่า ผู้ปกครองที่ใช้ความรุนแรง (ไทยใช้ ทรราชย์ = ผู้จัดทำ) แต่คำนั้นมีความหมายแตกต่างกับกรีซโบราณ tyrant ของเอเธนส์ปกติแล้วเป็นผู้นำที่ดี tyrant สามารถอยู่ในอำนาจได้เนื่องจากมีกองทัพที่เข้มแข็งและประชาชนให้การสนับสนุน

พิซิสตราตัสได้นำสันติภาพและความรุ่งเรืองมาสู่เมือง เขาได้เริ่มใช้นโยบายใหม่ ซึ่งมุ่งหมายที่รวบรวมเมืองเป็นเอกภาพ เขาได้สร้างเทศกาลใหม่ ๆ และสร้างวิหารและอนุสาวรีย์ ในรัชสมัยของเขา มีการปรับปรุงมากมายหลายอย่างเกิดขึ้นในกรุงเอเธนส์

หลังจากพิซิสตราตัสเสียชีวิต บุตรชายของเขาได้ขึ้นครองอำนาจเป็น tyrant  อย่างไรก็ตามขุนนางหลายคนไม่พอใจ เนื่องจากสูญเสียอำนาจ ขุนนางเหล่านี้บางคนก็โน้มน้าวนครรัฐที่เป็นคู่แข่งเข้าโจมตีเอเธนส์ จากการรุกรานนี้ tyrant จึงสูญเสียอำนาจ และเหล่าขุนนางก็กลับมาครองอำนาจในกรุงเอเธนส์เป็นระยะเวลาสั้น ๆ


Democracy in Action
Ancient Athens was the birthplace of democracythe system of government in which the people rule themselves. Democracy was perhaps the greatest achievement of ancient Athens. In time, it became the Greeksgreatest gift to the world.

ประชาธิปไตยภาคปฏิบัติการ
            กรุงเอเธนส์โบราณเป็นสถานที่กำเนิดประชาธิปไตย ซึ่งเป็นระบบการปกครองที่ประชาชนปกครองตนเอง บางทีประชาธิปไตยอาจจะเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของกรุงเอเธนส์โบราณ ในที่สุด ก็กลายเป็นรางวัลอันยิ่งใหญ่ที่สุดของกรีกที่ให้กับโลก
Athens Creates Democracy
Around 500 BC a new leader named Cleisthenes gained power in Athens. Although he was a member of one of the most powerful families in Athens, Cleisthenes didnt want aristocrats to run the government. He thought they already had too much influence. By calling on the support of the people, Cleisthenes was able to overthrow the aristocracy once and for all. In its place, he established a completely new form of government.

Under Cleisthenesleadership, Athens developed the worlds first democracy. For this reason, he is sometimes called the father of democracy.

Democracy under Cleisthenes
Under Cleisthenes, all citizens in Athens had the right to participate in the assembly, or gathering of citizens, that created the citys laws. The assembly met outdoors on a hillside so that everyone could attend the meetings. During meetings, people stood before the crowd and gave speeches on political issues. Every citizen had the right to speak his opinion. In fact, the Athenians encouraged people to speak. They loved to hear speeches and debates. After the speeches were over, the assembly voted. Voting was usually done by a show of hands, but sometimes the Athenians used secret ballots.

The number of people who voted in the assembly changed from day to day. For major decisions, however, the assembly needed about 6,000 people to vote. But it wasnt always easy to gather that many people together in one place.

            According to one Greek writer, the government sent slaves to the market to round up more citizens if necessary. In one of the writers plays, slaves walked through the market holding a long rope between them. The rope was covered in red dye and would mark the clothing of anyone it touched. Any citizen with red dye on his clothing had to go to the assembly meeting or pay a large fine.

            Because the assembly was so large, it was sometimes difficult to make decisions. The Athenians therefore selected citizens to be city officials and to serve on a smaller council. These officials decided which laws the assembly should discuss. This helped the government run more smoothly.

Changes in Athenian Democracy
As time passed, citizens gained more powers. For example, they served on juries to decide court cases. Juries had anywhere from 200 to 6,000 people, although juries of about 500 people were much more common. Most juries had an odd number of members to prevent ties.


Athens remained a democracy for about 170 years. It reached its height under a brilliant elected leader named Pericles. He led the government from about 460 BC until his death in 429 BC.

            Pericles encouraged the Athenians to take pride in their city. He believed that participating in government was just as important as defending Athens in war. To encourage people to participate in government, Pericles began to pay people who served in public offices or on juries. Pericles also encouraged the people of Athens to introduce democracy into other parts of Greece.

End of Democracy in Athens
Eventually, the great age of Athenian democracy came to an end. In the mid-330s BC Athens was conquered by the Macedonians from north of Greece. After the conquest, Athens fell under strong Macedonian influence.

Even after being conquered by Macedonia, Athens kept its democratic government. But it was a democracy with very limited powers. The Macedonian king ruled his country like a dictator, a ruler who held all the power. No one could make any decisions without his approval.

            In Athens, the assembly still met to make laws, but it had to be careful not to upset the king. The Athenians didnt dare make any drastic changes to their laws without the kings consent. They werent happy with this situation, but they feared the kings powerful army. Before long, though, the Athenians lost even this limited democracy. In the 320s BC a new king took over Greece and ended Athenian democracy forever.

Ancient Democracy Differs from Modern Democracy
Like ancient Athens, the United States has a democratic government in which the people hold power. But our modern democracy is very different from the ancient Atheniansdemocracy.

Direct Democracy
All citizens in Athens could participate directly in the government. We call this form of government a direct democracy. It is called direct democracy because each persons decision directly affects the outcome of a vote. In Athens, citizens gathered together to discuss issues and vote on them. Each persons vote counted, and the majority ruled.

The United States is too large for direct democracy to work for the whole country. For example, it would be impossible for all citizens to gather in one place for a debate. Instead, the founders of the United States set up another kind of democracy.

Representative Democracy
The democracy created by the founders of the United States is a representative democracy, or republic. In this system, the citizens elect officials to represent them in the government. These elected officials then meet to make the countrys laws and to enforce them. For example, Americans elect senators and representatives to Congress, the body that makes the countrys laws. Americans dont vote on each law that Congress passes but trust their chosen representatives to vote for them.
ชาวเอเธนส์ก่อตั้งประชาธิปไตย
            ประมาณ 500 ปีก่อนคริสตกาล ผู้นำคนใหม่นามว่า ไคลส์ธีนีส (Cleisthenes) ได้ครองอำนาจในเอเธนส์ แม่ว่าเขาจะเป็นสมาชิกของตระกูลที่มีอิทธิพลมากที่สุดครอบครัวหนึ่งในกรุงเอเธนส์ ไคลส์ธีนีสก็ไม่ต้องการระบบคณาธิปไตยมาบริหารการปกครอง เขาคิดว่า ตระกูลมีอิทธิพลมากเกินไปแล้ว ด้วยการให้การสนับสนุนของประชาชน ไคลส์ธีนีสก็สามารถล้มล้างระบบคณาธิปไตยได้ในที่สุด ณ สถานที่นี้ เขาได้สถาปนารูปแบบการปกครองแบบใหม่ขึ้นได้อย่างสมบูรณ์

          ภายใต้การเป็นผู้นำของไคลส์ธีนีส กรุงเอเธนส์ก็ได้พัฒนาประชาธิปไตยครั้งแรกของโลก ด้วยเหตุนี้ บางครั้งเขาจึงได้รับขนานนามว่า เป็นบิดาแห่งประชาธิปไตย

ประชาธิปไตยภายใต้การบริหารของไคลส์ธีนีส
            ภายใต้การบริหารของไคลส์ธีนีส ประชากรแห่งกรุงเอเธนส์ทั้งหมดมีสิทธิในการเข้าร่วมในสภา หรือการชุมนุมกันของประชากรเพื่อออกกฎหมายเมือง สภาได้ประชุมกันกลางแจ้งข้างเนินเขาเพื่อว่าทุก ๆ คนสามารถเข้าร่วมประชุมได้ ในระหว่างการประชุม ประชาชนยืนอยู่เบื้องหน้ากลุ่มชนและกล่าวปัญหาทางการเมือง ประชากรทุก ๆ คนจะมีสิทธิพูดออกความเห็นของตนเอง ในความเป็นจริง ชาวเอเธนส์ก็สนับสนุนให้ประชาชนพูดอยู่แล้ว พวกเขาชอบฟังการพูดและการอภิปราย หลังจากสิ้นสุดการพูด สภาก็ออกเสียง ปกติการออกเสียงจะกระทำด้วยการยกมือ แต่บางครั้งชาวเอเธนส์ก็ใช้การลงคะแนนลับ

          ประชาชนจำนวนมากที่ออกเสียงในสภาจะมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน แต่อย่างไรก็ตามเมื่อมีการลงมติครั้งสำคัญ สภาก็ต้องการคนออกเสียงประมาณ 6,000 คน แต่การที่คนจำนวนมากจะมารวมกันในสถานที่แห่งเดียวก็ไม่ง่ายเสมอไป


         ตามที่นักเขียนชาวกรีกคนหนึ่งเขียนไว้ รัฐบาลจะส่งทาสไปยังตลาดเพื่อชุมนุมกันให้ประชากรมากขึ้นถ้าจำเป็น ในบทละครของนักเขียนบทหนึ่งกลว่าไว้ว่า เหล่าทาสได้เดินผ่านไปยังตลาดด้วยการถือผ้าชิ้นยาวไปในระหว่างพวกเขา ผ้าชิ้นนั้นจะย้อมสีแดงและผ้าของผู้ใดที่มาแตะจะเป็นรอยสีแดง ประชากรคนใดที่มีสีแดงติดที่ผ้าจะต้องไปยังที่ประชุมสภาหรือจ่ายเงินค่าปรับก้อนใหญ่


          เนื่องจากสภามีขนาดใหญ่มาก บางครั้งจึงยากในการลงมติ ดังนั้น ชาวเอเธนส์จึงเลือกประชากรเพื่อเป็นเจ้าหน้าที่เมืองและเป็นสมาชิกสภาที่เล็กกว่า เจ้าหน้าที่เหล่านี้จะตัดสินใจว่ากฎหมายฉบับใดที่สภาควรจะอภิปราย ข้อนี้จะช่วยให้รัฐบาลบริหารได้ราบรื่นมากขึ้น


การเปลี่ยนแปลงมาเป็นประชาธิปไตยของกรุงเอเธนส์
            เมื่อเวลาผ่านไป ประชากรมีอำนาจมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น พวกเขาทำหน้าที่เป็นคณะลูกขุนในการตัดคดีในศาล คณะลูกขุนจะอยู่ทุกแห่งตั้งแต่ 200 คน ถึง 6,000 คน แม้ว่าคณะลูกขุนในจำนวนประมาณ 500 คนจะเป็นธรรมดาสามัญ คณะลูกขุนส่วนใหญ่จะมีจำนวนสมาชิกมากผิดปกติเพื่อป้องกันการลงคะแนนเท่ากัน

          ชาวเอเธนส์ดำรงระบบประชาธิปไตยไว้ได้เป็นเวลาประมาณ 170 ปี โดยมาถึงจุดสูงสุดภายใต้ผู้นำที่ได้รับเลือกตั้งผู้ฉลาดหลักแหลม นามว่า เพริคลีส (Pericles) เขาเป็นผู้นำการปกครองตั้งแต่ประมาณ 460 ปีก่อนคริสตกาล จนกระทั่งสิ้นชีวิตเมื่อ 429 ปีก่อนคริสตกาล

              เพริคลีสได้กระตุ้นให้ชาวเอเธนส์เกิดความภูมิใจในเมืองของตนเอง เขาเชื่อว่า การมีส่วนร่วมในการปกครองสำคัญพอ ๆ กับการป้องกันกรุงเอเธนส์ในสงครามเลยที่เดียว วิธีการกระตุ้นประชาชนให้มีส่วนร่วมในการปกครอง เพริคลีสได้เริ่มให้รางวัลประชาชนผู้ทำหน้าที่เป็นข้าราชการหรือเป็นคณะลูกขุน เพริคลีสยังได้กระตุ้นให้ประชาชนแห่งกรุงเอเธนส์นำระบบประชาธิปไตยไปแนะนำในส่วนอื่น ๆ ของกรีซด้วย

การสิ้นสุดประชาธิปไตยในกรุงเอเธนส์
            ในที่สุด ยุคประชาธิปไตยเอเธนส์อันยิ่งใหญ่ก็เดินทางมาถึงจุดสิ้นสุด ในกลางทศวรรษที่ 330 ก่อนคริสตกาล กรุงเอเธนส์ ถูกชาวมาซิโดเนียจากตอนเหนือของกรีซพิชิต หลังจากถูกพิชิตได้ กรุงเอเธนส์ก็ตกอยู่ภายใต้การปกครองของอิทธิพลมาซิโดเนีย

           แม้ว่าหลังจากถูกมาซิโดเนียพิชิตแล้ว กรุงเอเธนส์ก็ยังรักษาการปกครองแบบประชาธิปไตยไว้ได้ แต่ก็เป็นประชาธิปไตยที่มีอำนาจจำกัดมาก กษัตริย์แห่งมาซิโดเนียได้ปกครองประเทศเหมือนกับผู้เผด็จการ คือ นักปกครองที่ยึดอำนาจทั้งหมด ไม่มีใครสามารถตัดสินใจใด ๆ ได้โดยปราศจากการอนุญาต

          ในกรุงเอเธนส์ สภายังคงประชุมออกกฎหมายต่อไป แต่ต้องระมัดระวังไม่ให้กระทบกระทั่งพระทัยของกษัตริย์ ชาวเอเธนส์ไม่กล้าทำการเปลี่ยนแปลงรุนแรงใด ๆ ต่อกฎหมายของตนโดยปราศจากการยินยอมของกษัตริย์ ทั้งไม่มีความสุขกับสถานภาพนี้ แต่ก็กลัวกองทัพอันทรงประสิทธิภาพของกษัตริย์ ถึงแม้ว่าในไม่ช้าชาวเอเธนส์จะสูญเสียประชาธิปไตยอันมีข้อจำกัดนี้ เมื่อ 320 ปีก่อนคริสตกาล กษัตริย์องค์ใหม่จะเข้ามาปกครองกรีซและยุติระบบประชาธิปไตยแห่งเอเธนส์ตลอดกาล

ระบบประชาธิปไตยสมัยโบราณแตกต่างจากสมัยใหม่
สหรัฐมีการปกครองระบบประชาธิปไตยเหมือนกรุงเอเธนส์สมัยโบราณที่ประชาชนมีอำนาจ แต่ประชาธิปไตยสมัยใหม่ของพวกเราแตกต่างจากประชาธิปไตยของเอเธนส์สมัยโบราณมาก

ประชาธิปไตยทางตรง
            ประชากรทุกคนในกรุงเอเธนส์สามารถมีส่วนร่วมโดยตรงในการปกครอง เราเรียกรูปแบบการปกครองนี้ว่า ประชาธิปไตยทางตรง ระบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง เนื่องจากการตัดสินใจของบุคคลมีผลโดยตรงต่อผลการออกเสียง ในกรุงเอเธนส์ ประชากรจะมาชุมนุมกันเพื่ออภิปรายปัญหาและออกเสียงการอภิปรายปัญหาเหล่านั้น นับเสียงแต่ละคน และเสียงส่วนใหญ่จะเป็นการชี้ขาด

          สหรัฐใหญ่เกินไปสำหรับประชาธิปไตยทางตรงในการทำงานให้กับประเทศทั้งหมด ยกตัวอย่างเช่น เป็นไปไม่ได้ที่ประชาชนทุกคนจะมาประชุมกันในสถานที่แห่งเดียวเพื่ออภิปราย เหล่าผู้ก่อตั้งสหรัฐจึงจัดตั้งประชาธิปไตยอีกชนิดหนึ่งขึ้นมาแทน

ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน
            ประชาธิปไตยที่เหล่าผู้ก่อตั้งสหรัฐสร้างสรรค์ขึ้นคือประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน หรือระบบสาธารณรัฐ ในระบบนี้ ประชากรจะเลือกเจ้าหน้าที่เป็นตัวแทนของตนเองในการปกครอง หลังจากนั้น เจ้าหน้าที่ที่ได้รับเลือกเหล่านี้จะประชุมกันเพื่อออกกฎหมายของประเทศและเพื่อบังคับใช้ตนเอง ยกตัวอย่างเช่น ชาวอเมริกาจะเลือกสมาชิกวุฒิสภาและผู้แทนราษฎรเข้าไปสู่สภาคองเกรส คือสภาที่ออกกฎหมายของประเทศ ชาวอเมริกาจะไม่ออกเสียงกฎหมายแต่ละฉบับที่สภาคองเกรสผ่านแล้ว แต่พวกเขาเชื่อมั่นผู้แทนที่ตนเองเลือกไปออกเสียงให้กับตนเอง
Democracy Then and Now
In Athenian
Direct Democracy

In American
Representative Democracy
All citizens met as a group to debate and vote directly on every issue.

Citizens elect representatives to debate and vote on issues for them.
There was no separation of powers. Citizens created laws, enforced laws, and acted as judges.

There is a separation of powers. Citizens elect some people to create laws, others to enforce laws, and others to be judges.
Only free male citizens could vote. Women and slaves could not vote.

Men and women who are citizens have the right to vote.


ความแตกต่างระหว่างประชาธิปไตยสมัยก่อนและปัจจุบัน
ประชาธิปไตยทางตรงในกรุงเอเธนส์

ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนในสหรัฐ
ประชากรทุกคนมาประชุมกันอภิปรายและออกเสียงเกี่ยวกับปัญหาโดยตรง

ประชากรเลือกผู้แทนมาอภิปรายและออกเสียงเกี่ยวกับปัญหาให้ตนเอง
ไม่มีการแบ่งแยกอำนาจ ประชากรออกกฎหมาย บังคับใช้กฎหมาย และทำหน้าที่เป็นผู้พิพากษา

มีการแบ่งแยกอำนาจ ประชากรเลือกคนบางพวกไปออกกฎหมาย คนพวกอื่นบังคับใช้กฎหมาย และคนพวกอื่นทำหน้าที่ผู้พิพากษา
ประชากรที่มีเสรีภาพเป็นผู้ชายเท่านั้นจึงสามารถออกเสียงได้ ผู้หญิงและทาสไม่สามารถออกเสียงได้

ผู้ชายและผู้หญิงที่เป็นประชากรมีสิทธิในการออกเสียง