Nineteenth-century colonization
In the 19th century,
European powers colonized much of Asia. The
British took over Burma, Malaya, North Borneo,
and Hong Kong; France dominated Indochina; the Dutch controlled Indonesia; and Russia annexed
Central Asian provinces.
Engraving of Anglo-Burmese wars, 1824
ภาพตรึงใจสงครามอังกฤษ-พม่า ค.ศ. 1824 (พ.ศ. 2367)
|
การล่าอาณานิคมในศตวรรษที่ 19
ในศตวรรษที่
19 มหาอำนาจยุโรปล่าอาณานิคมในทวีปเอเชียจำนวนมาก อังกฤษครอบครองพม่า มะลายา
บอร์เนียวเหนือ และฮ่องกง ฝรั่งเศสครอบครองอินโดจีน ดัทช์ครอบครองอินโดนีเซีย
และรัสเซียผนวกเอาจังหวัดในเอเชียกลางเข้าด้วย
|
||||||
Anglo-Burmese
wars
In 1886, Burma lost
its independence to Britain after a series of wars. This takeover was strategic rather than
trade-based: the British wanted to
prevent the French from gaining too much influence in
Asia.
|
สงครามระหว่างอังกฤษกับพม่า
ในปี
ค.ศ. 1886 (พ.ศ. 2429) พม่าสูญเสียอิสรภาพให้กับอังกฤษหลังจากการทำสงครามกันเป็นระลอก
ๆ การโจมตีครั้งนี้ค่อนข้างจะเป็นด้านการสงครามมากกว่าจะเป็นฐานการค้าขาย อังกฤษต้องการจะกีดกันฝรั่งเศสไม่ให้มีอิทธิพลในเอเชียมากเกินไป
|
Conversion of the
Philippines
In the late 1500s,
the Spanish colonial government encouraged Filipinos to
become Roman Catholics, and gave financial
support to missionaries. By the 18th
century, most Filipinos in towns and lowland areas had converted to Catholicism. The island of
Mindanao, however, embraced Islam,
which was brought to them by Muslim
traders.
|
การเปลี่ยนแปลงศาสนาของฟิลิปปินส์
ในปลายศตวรรษที่
1500 รัฐบาลอาณานิคมสเปนได้สนับสนุนให้ชาวฟิลิปปินส์หันไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิก
และให้การสนับสนุนด้านการเงินแก่มิชชันนารี ประมาณศตวรรษที่ 18
ชาวฟิลิปปินส์ส่วนใหญ่ในเมืองและบริเวณพื้นที่ราบให้เปลี่ยนเป็นคาทอลิก อย่างไรก็ตามหมู่เกาะมินดาเนายังยึดมั่นในศาสนาอิสลาม
ซึ่งมากับพ่อค้าชาวมุสลิม
|
||||
Golden East
As Europe gained in
military and industrial strength in the 19th century, it
expanded, and Asia became a rich source of food and raw
materials. European planters
developed tea, coffee, and rubber plantations, founded
tin mines, exploited Asian timber, and prospected for
gold, silver, and precious stones.
|
ดินแดนตะวันออกอันรุ่งเรือง
ในขณะที่ยุโรปมีความแข็งแรงด้านทหารและอุตสาหกรรมในศตวรรษที่
19 จึงขยายดินแดน และเอเชียก็กลายเป็นแหล่งอาหารและวัตถุดิบที่อุดมสมบูรณ์ เกษตรกรชาวยุโรปจึงพัฒนาการปลูกชา
กาแฟและสวนยาง ก่อตั้งเหมืองแร่ หาผลประโยชน์จากป่าไม้ในเอเชีย และสำรวจหาทองคำ
แร่เงิน และอัญมณี
|
Rebellion
From the 1850s, there
were rebellions against European interference in Asian affairs. In 1857, the Sepoy Rebellion
took place in India, and, in 1900, there was the Boxer Rebellion in China. Both revolts
were protests against western strength and
culture. They were crushed by western or colonial government forces.
|
การก่อการกบฏ
นับตั้งแต่
ทศวรรษที่ 1850 ได้มีการก่อการกบฏต่อการแทรกแซงของชาวยุโรปในราชการของเอเชีย ในปี
ค.ศ. 1857 (พ.ศ. 2400) เกิดกบฏซีปอยขึ้นในประเทศอินเดีย และในปี ค.ศ. 1900 (พ.ศ.
2443) เกิดกบฏนักมวยขึ้นในประเทศจีน การกบฏทั้งสองครั้งเพื่อต่อต้านกำลังทหารและวัฒนธรรมของชาติตะวันตก
พวกเขาถูกทำลายโดยชาวตะวันตกหรือกองกำลังรัฐบาลอาณานิคม
|
||||
Rama V
Chulalonkorn (1853-1910) became
Rama V, King of Siam, in 1868. He
travelled widely throughout Asia, and was
determined to strengthen his country by
a process of modernization. In the 1880s, he created a modern army, civil service, and education system. Although Thailand lost some provinces to Britain and France, it
managed to preserve its prestige and
independence.
(Left) The king and queen of Siam
|
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่
เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์
(มีพระชนมายุระหว่าง ค.ศ. 1853 – 1910 = พ.ศ. 2396 – 2453 พระชนมายุ 57 พรรษา)
ทรงขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงสยาม ในปี ค.ศ. 1868 (พ.ศ.
2411) พระองค์ทรงเสด็จประพาสไปทั่วเอเชีย
และตัดสินพระทัยที่จะสร้างประเทศให้เข้มแข็งด้วยแนวทางการพัฒนาแบบสมัยใหม่ ในทศวรรษที่
1880 พระองค์ทรงสร้างกองทัพให้ทันสมัย ข้าราชการพลเรือน และระบบการศึกษา แม้ว่าประเทศไทยจะสูญเสียจังหวัดบางจังหวัดให้กับอังกฤษและฝรั่งเศส
นั่นก็เป็นการจัดการเพื่อปกป้องเกียรติภูมิและอิสรภาพของประเทศไทย
(ซ้าย) พระราชาและพระราชินีแห่งกรุงสยาม
|
World War II
In 1941 - 1942, Japan
occupied Burma, Indochina, and Indonesia. After the horrors
of occupation, these areas rejected all foreign rule. In
China, communist guerrillas resisting the Japanese, gained popular and
political support.
|
สงครามโลกครั้งที่ 2
ในปี
ค.ศ. 1941 – 42 (พ.ศ. 2484 – 2485) ญี่ปุ่นได้ยึดครองพม่า อินโดจีน
และอินโดนีเซีย หลังจากเกิดความหวาดกลัวการยึดครอง บริเวณเหล่านี้ทั้งหมดก็ไม่ยอมรับการปกครองของชาวต่างชาติ
ในประเทศจีนกองโจรคอมมิวนิสต์ต่อต้านญี่ปุ่น ก็ได้รับความนิยมและการสนับสนุนทางการเมือง
|
|||
Death Railway
During World War II,
the Japanese built a railway to link Burma and Thailand
to supply Japanese troops in Burma. Many
thousands of Asian labourers and Western prisoners died
from malnutrition, disease, and exhaustion building the
420-km (260-mile) railway, and it became known as the
Death Railway.
|
ทางรถไฟสายมรณะ
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่
2 ญี่ปุ่นได้สร้างทางรถไฟขึ้นเชื่อมพม่ากับไทย เพื่อจัดส่งกองกำลังญี่ปุ่นในพม่า
แรงงานชาวเอเชียจำนวนหลายพันคนและนักโทษชาวตะวันตกเสียชีวิตจากภาวะทุพโภชนาการ โรคและความอ่อนเพลียในการสร้างทางรถไฟระยะทาง
420 กิโลเมตร (260 ไมล์) และกลายเป็นที่รู้จักในนามของทางรถไฟสายมรณะ
|
Growth of nationalism
After World War I,
Asian nationalism (a belief in independence) grew. In 1918, Arab leaders overthrew Turkish
rule. The desire of Jews to create an independent state in Palestine gained
support. By 1933, 238,000 Jews had
settled in Palestine, and, in 1948, the state of Israel was created.
|
วิวัฒนาการของลัทธิชาตินิยม
หลังจากสงครามโลกครั้งที่
1 ลัทธิชาตินิยมในเอเชีย (ศรัทธาในอิสรภาพ) ก็เจริญรุ่งเรือง ในปี ค.ศ. 1918
(พ.ศ. 2461) เหล่าผู้นำอาหรับได้ล้มล้างการปกครองของตุรกี ชาวยิวปรารถนาที่จะสร้างอิสรภาพในปาเลสไตน์ก็ได้รับการสนับสนุน
ประมาณ ค.ศ. 1933 (พ.ศ. 2476) ชาวยิว จำนวน 238,000 คน
ได้ตั้งหลักแหล่งในปาเลสไตน์ และในปี ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) รัฐอิสราเอลก็ถูกสร้างขึ้น
|
|
Independence
movements
After 1945, many
Asian countries threw off colonial rule. In
1947, India and Pakistan struggled for and won
independence from Britain. In 1948, a Jewish homeland, Israel, came into being. Indonesia won independence from the Netherlands in 1949,
after a four-year battle. France
also tried to prevent Vietnamese independence, but was defeated in 1954; the other French
colonies, Laos and Cambodia, became independent
in 1954 and 1953 respectively.
|
ขบวนการเคลื่อนไหวเพื่ออิสรภาพ
หลังจาก
ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) ประเทศในเอเชียหลายประเทศรอดพ้นจากการปกครองของลัทธิอาณานิคม
ในปี ค.ศ. 1947 (พ.ศ. 2490) อินเดียและปากีสถานพยายามดิ้นรนเพื่ออิสรภาพและได้รับอิสรภาพจากอังกฤษ
ในปี ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) อิสราเอลบ้านเกิดเมืองนอนของชาวยิวก็กลับมีชีวิตขึ้นมา
อินโดนีเซียได้รับอิสรภาพจากเนเธอร์แลนด์ในปี ค.ศ. 1949 (พ.ศ. 2492)
ภายหลังเกิดสงคราม 4 ปี ฝรั่งเศสยังพยายามกีดกันไม่ให้เวียดนามได้รับอิสรภาพ
แต่ก็พ่ายแพ้ในปี ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) อาณานิคมของฝรั่งเศสอีกด้านหนึ่ง คือ
ลาวและกัมพูชา ก็ได้รับอิสรภาพในปี ค.ศ. 1954 และ 1953 (พ.ศ. 2497 และ 2496)
ตามลำดับ
|
Communist Asia
In 1949, the
communists established the People's Republic of China – the world's largest communist state. In 1954, the North Vietnamese created
an independent communist state. From the 1960s, communist movements in
Indonesia and Malaysia threatened to overthrow
existing governments.
|
เอเชียคอมมิวนิสต์
ในปี
ค.ศ. 1949 (พ.ศ. 2492) ลัทธิคอมมิวนิสต์ก็สถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน
ซึ่งเป็นรัฐคอมมิวนิสต์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในปี ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) เวียดนามเหนือก็สร้างรัฐเสรีคอมมิวนิสต์
นับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 ขบวนการคอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซียและมาเลเซียก็ขู่จะล้มล้างรัฐบาล
|
||||
Oil rigs,
Middle East
|
|||||
Middle
East conflicts
Since
1948, Arab-Israeli territorial conflict, such as the war of 1973 (when Egypt and Syria attacked Israel), has dominated the Middle East. There have also been conflicts between Arab countries,
such as the Iran-Iraq war (1980-88). Although
the oil boom has helped this situation by lessening poverty, the situation in the Middle East
remains unstable.
|
ความขัดแย้งในตะวันออกกลาง
ตั้งแต่ปี
ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ความขัดแย้งเรื่องดินแดนระหว่างอาหรับและอิสราเอล เช่น
สงคราม ปี ค.ศ. 1973 (พ.ศ. 2516 – เมื่ออียิปต์และซีเรียโจมตีอิสราเอล) ได้ครอบงำตะวันออกกลาง
ยังมึความขัดแย้งระหว่างประเทศอาหรับ เช่น สงครามอิรักกับอิหร่าน (ค.ศ. 1980 –
88 = พ.ศ. 2523 – 2431) แม้ว่าความตื่นตัวเรื่องน้ำมันจะช่วยสถานการณ์นี้ไว้ได้ด้วยการบรรเทาความยากจน
สถานการณ์ในตะวันออกลางก็ยังคงไม่มีเสถียรภาพ
|
Vietnam
War
From 1954,
communist North Vietnam sought to reunite with non-communist South Vietnam by force. Originally a civil war, the Vietnam War escalated into an international
conflict with the gradual intervention of the United States in the 1960s. Following defeats and heavy casualties, the USA
agreed to withdraw in 1973. In 1975,
northern forces unified both halves of Vietnam.
|
สงครามเวียดนาม
นับตั้งแต่ปี
ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) คอมมิวนิสต์เวียดนามเหนือได้พยายามรวมตัวกับกองกำลังเวียดนามที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ด้วยการบังคับ
เดิมทีสงครามกลางเมือง คือ สงครามเวียดนามได้ขยายไปสู่ความขัดแย้งระดับนานาชาติ
ด้วยการแทรกแซงอย่างค่อยเป็นค่อยไปของสหรัฐฯ ในทศวรรษที่ 1960 หลังจากได้รับความพ่ายแพ้และได้รับความเสียหายขนาดหนัก
สหรัฐอเมริกาตกลงจะถอนตัวในปี ค.ศ. 1973 (พ. ศ. 2516) เมื่อปี ค.ศ. 1975 (พ. ศ.
2518) กองกำลังทางเหนือก็รวมเวียดนามทั้งสองฝ่ายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
|
Dragon economies
In the 1980s,
Singapore, Taiwan, Hong Kong, and South Korea used their
well-educated (มีการศึกษา) populations
and high investment to become prosperous "dragon" economies. In the 1990s, Thailand,
Malaysia, and Indonesia also developed rapidly.
|
มังกรเศรษฐกิจ
ในช่วงทศวรรษที่ 1980
สิงคโปร์ ไต้หวัน ฮ่องกงและเกาหลีใต้ใช้ประโยชน์
จากประชากรที่มีการศึกษาและการลงทุนสูงเพื่อจะเป็น
"มังกร" เศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรือง
ในทศวรรษที่ 1990 ไทย มาเลเซียและอินโดนีเซียยังมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว
|
||||
Taiwanese
exported goods
Taiwan
traditionally exported agricultural products, such as
sugar, pineapples, and bananas; but by the 1980s it also exported advanced electronic products, such as personal computers, televisions, and portable phones.
|
สินค้าส่งออกของไต้หวัน
ไต้หวันส่งออกผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสืบเนื่องกันมา
เช่น น้ำตาล สับปะรด และกล้วย แต่ในยุคทศวรรษที่
1980 นั้น ยังส่งออกผลิตภัณฑ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูง เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
โทรทัศน์และโทรศัพท์มือถือ
|
||||
Chaim Weizmann
Weizmann (1874-1952) was born near Pinsk in Belorussia and
studied chemistry in Switzerland. In
his youth he became a passionate Zionist and
eventually was made head of the World Zionist Movement. After World War II,
Weizmann campaigned for the creation of Israel, and in 1948, became the state of Israel's first president.
|
ไคม์ ไวส์มันน์
ไวส์มันน์ (Weizmann – มีชีวิตระหว่าง ค.ศ.1874-1952 = พ.ศ. 2417 – 2495 อายุ 78 ปี) เกิดใกล้เมืองปินสค์
(Pinsk) ในประเทศเบลารุสและศึกษาวิชาเคมีในประเทศสวิสเซอร์แลนด์
ในวัยหนุ่ม เขากลายเป็นไซออนิสต์ (ผู้สนับสนุนการอพยพยิวไปอยู่ปาเลสไตน์)
หัวรุนแรง และในที่สุดก็ได้รับให้เป็นผู้นำขบวนการไซออนิสต์
หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ไวส์มันน์รณรงค์เพื่อสร้างอิสราเอลและในปี ค.ศ. 1948
(พ.ศ. 2491) ก็เป็นประธานาธิบดีคนแรกของอิสราเอล
|